52-3-1

นิพพาน = การสิ้นสุดของวัฏฏะหรือหายนะแห่งวัฏฏะ
ดับเวทนา = ไม่มีการเสพ
สุข <-------รักษาตรงกลาง(ไม่เสพ)------->ทุกข์
ดี <-------รักษาตรงกลาง(ไม่เสพ)------->เสีย(ไม่ดี)
ดีใจ <-------รักษาตรงกลาง(ไม่เสพ)------->เสียใจ

รักษาตรงกลาง(ไม่เสพ)----> ความสงบ(เป็นทางสายกลาง)

ความสงบมีอยู่ในธรรมชาติ แต่เราติดที่จะเสพสุขเกลียดทุกข์ ทำให้รักษาความสงบไม่ได้
เหมือนน้ำมีอยู่ในธรรมชาติ แต่มีสิ่งที่ทำให้น้ำสั่น หรือกระเพื่อม

เริ่มจาก-->เสพน้อยลง-->วางไปเรื่อย(ถ้าหยุดได้ จะเกิดช่องว่าง)-->ปัญญาวิมุติเกิด
เบื้องต้น ต้องมุ่งอานิสสงส์เพื่อหล่อเลี้ยงใจ-->เบื้องสูง(บัวพ้นน้ำ)ไม่ต้องการอานิสสงส์มารบกวนใจ
"สุขใดเทียบเท่าความสงบสุข ไม่มี" หรือ สุข-สงบ-เบิกบาน(สิ้นทุกข์ที่เรากังวล)

พุทธะ ทำให้พลังความคิดแกร่ง
นั่งสมาธิ--->สงบแบบโลกีย์
พระพุทธเจ้าทรงสอนให้ตัดกิเลส สอนด้านปัญญาแยะมาก แต่พระสูตรนิดเดียว
ท่านสอนว่า อย่าเชื่อจนกว่าจะพิสูจน์ แต่ถ้าพิสูจน์แล้วว่าใช่ ต้องขอบพระคุณท่าน

เพ่งโทษ = ปรามาส
โทษแรก = เราเกิดโทสะ
โทษที่สอง = พุทธะเราดับ

ผลของขยะ
1."เราพอ" = ไม่ขวนขวาย ไม่ดิ้นรน ไม่ไขว่ขว้า
2."ไม่เป็นไร" = อารมณ์เสียดายยังมี แต่ก็ให้ได้
3."เอาไปเลย" = อารมณ์เสียดายไม่มี ไม่มีอะไรขวางในใจ ไม่เสียดาย ไม่ค้างในใจ
เอาไว้เฉพาะจำเป็นต้องใช้ ที่เหลือยกให้ได้
จากระดับ"เราพอ"ถึง"ไม่เป็นไร"ยาก ใช้เวลานาน แต่..
จากระดับ"ไม่เป็นไร"ถึง"เอาไปเลย"ง่าย ใช้เวลาไม่นาน

ฝึกไป-->รู้แจ้งไป-->ฝึกไปเรื่อยๆแทบจะไม่มีมิจฉาทิฐิ-->ละวางไปเรื่อยๆ

ทุกข์มาก-->ปรุงแต่งมาก-->ยึดติดมาก ในทางกลับกัน
ปฏิบัติมาก-->ปรุงแต่งน้อย-->ยึดติดน้อย

ทุกวันก่อนนอนวันละ1ชม.อย่างน้อย(ว่างจากการงาน)-->ทบทวนดูว่าอะไรมากระทบในวันนี้ หรือ
เบื้องหลังตุ๊กตา/เบื้องหล้งธรรมะคืออะไร
"ธรรมใด เกิดแต่เหตุ"เหตุอะไร อารมณ์อะไร สุข/ทุกข์ แยกออกจากกัน -->ว่าง สงบ

อ.ยกตัวอย่างว่า ทำไมจึงมีคนมาเรียนธรรมะ ยอมทิ้งเวลาทำมาหากิน
"ศรัทธา"เป็นตัวตั้ง เป็นพลังขับเคลื่อน
--->ศรัทธาในตัวอาจารย์ แต่ถ้าเป็นคนอื่นมาสอน ก็คงไม่มาเรียน
--->ศรัทธาแบ่งออก
....1.ศรัทธาภายนอก คือศรัทธาบุคคล รักษาไว้ด้วยกตัญญู
....2.ศรัทธาภายใน ต้องแข็งแกร่ง มั่นในสิ่งนั้น
ศรัทธานอก+ใน ต้องผสมผสานกันเป็นหนึ่ง

เลือกระหว่าง"ความจำเป็น"หรือ"ความมีค่า"
--->เลือก"ความมีค่า"จึงเลือกเรียนมากกว่าขายของ

เน้น"มั่นกับสิ่งใด สิ่งนั้นก็มั่นกับเรา ปฏิบ้ติแบบเอาจริง ก็ได้ของจริง"

"ปุ๋ย" ของพระพุทธองค์ คือ มุ่งดี ตั้งใจดี คิดดี พูดดี ทำดี
(มีอาวุธดี ผู้สนับสนุนดี)

ถ้าเพ่งโทษ ก็ทำลายปุ๋ย
ปรามาส ==> สบประมาท มองหาจุดที่จะโจมตี ทำลาย ดูถูกเหยียดหยาม ขาดความเคารพ ยำเกรง
เนรคุณ ==> ดูถูกที่พื้นฐานแรก แทนที่เราจะคิดว่าเป็นฐานให้เราคิดต่อ
แต่เราเนรคุณ ทำให้ฐานเสีย ต้องเปลี่ยนความคิดเป็น "ฐานเสีย ก็ขอขอบคุณ(ขอบคุณได้คือ
"สำนึก"ในความดีของเขา)ที่เป็นฐานให้เราคิดต่อ"หรือถ้า"ฐานดี ก็ขอขอบคุณที่เป็นฐานให้เรา"

ปรับจิตก่อน เช่นเสียใจกับการกระทำของเรา แล้วปรับความประะพฤติทีหลัง